Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi enim

Subscribe to our newsletter

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam
[contact-form-7 id="9582" html_class="default"]

ดีป้า Tag

วันที่ 15 กันยายน 2567, กรุงเทพมหานคร - กระทรวงดีอี โดย ดีป้า แถลงผลสำเร็จโครงการCoding for Better Life สร้างรากฐานอนาคตประเทศไทย  โชว์ผลงานยกระดับห้องเรียนโค้ดดิ้ง 1,500 โรงเรียนทั่วประเทศ นักเรียน ครู ร่วมยกระดับทักษะโค้ดดิ้งเข้มข้นผ่านกิจกรรม Coding Bootcamp กว่า 3,200 คน ประชาชนเกิดความตระหนักรู้เกี่ยวกับโค้ดดิ้งผ่านกิจกรรม Coding Roadshow กว่า 1.16 แสนคน เกิดผลงานโค้ดดิ้งที่ได้รับการสร้างสรรค์โดยครู นักเรียนจากทั่วประเทศผ่านโครงการ Coding for Better Life มากกว่า 900 ผลงาน ผศ.ดร.ณัฐพล

ดีป้า จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเข้มข้น ครู - นักเรียน จำนวน 100 ทีม ที่ผ่านการคัดเลือกอย่างเข้มข้น จากทั่วประเทศ เข้าคอร์สติวเข้มทักษะโค้ดดิ้ง จากผู้เชี่ยวชาญ ฝึกนำเสนอผลงานและรับข้อเสนอแนะ ก่อนร่วมประชันไอเดียเพื่อชิงความเป็นหนึ่งบนเวที Coding War เวทีแข่งขันทักษะโค้ดดิ้งที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ภายใต้โครงการ Coding for Better Life ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า เปิดเผยว่า โครงการ Coding for Better Life สร้างรากฐานอนาคตประเทศไทย ดำเนินกิจกรรม Coding Bootcamp & Coding Roadshow

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) ประสบความสำเร็จอย่างล้นหลามจากกิจกรรม Coding Bootcamp   ใน 8 ภูมิภาค กิจกรรมภายใต้โครงการ Coding for Better Life สร้างรากฐานอนาคตประเทศไทย พร้อมประกาศผล 100 ทีม ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่กิจกรรมบ่มเพาะ ติวเข้ม ก่อนชิงแชมป์บนเวที Coding War รอบ Final            ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า เปิดเผยว่า กิจกรรม Coding Bootcamp & Roadshow และกิจกรรม Coding War ทั้งรูปแบบ

4 – 5 กรกฎาคม 2567, จังหวัดขอนแก่น - กระทรวงดีอี โดย ดีป้า จัดกิจกรรม Coding Bootcamp & Roadshow ภายใต้โครงการ Coding for Better Life สร้างรากฐานอนาคตประเทศไทย กำหนดจัดใน 8 ภูมิภาคทั่วประเทศ เปิดพื้นที่แรก จังหวัดขอนแก่นประสบความสำเร็จเกินคาด ครู นักเรียน และประชาชนทั่วไปตบเท้าเข้าร่วมงานล้นหลาม ตั้งเป้าภายหลังจบโครงการมีผู้เข้าร่วมงานรวมกว่า 2 หมื่นคน ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า เปิดเผยว่า โครงการ Coding

4 กรกฎาคม 2567, จังหวัดขอนแก่น - กระทรวงดีอี โดย ดีป้า จัดกิจกรรม Coding Bootcamp & Roadshow และ Coding War พื้นที่ภาคอีสานตอนกลาง รุกติวเข้มทักษะโค้ดดิ้งนักเรียน – ครู สร้างความตระหนักรู้ประชาชน  สร้างกำลังคนดิจิทัลที่มีศักยภาพรองรับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และแก้ไขปัญหาการขาดแคลนกำลังคนดิจิทัลของประเทศได้อย่างยั่งยืน กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กระทรวงดีอี) โดย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า จัดกิจกรรม Coding Bootcamp & Roadshow (วันที่ 4 – 5 ก.ค.) และ Coding

กระทรวงดีอี และ ดีป้า ร่วมเปิดตัวโครงการ SIKHIO SMART LIVING เดินหน้าส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในพื้นที่อำเภอสีคิ้ว ครอบคลุมมิติด้านความปลอดภัย ด้านบริการภาครัฐ และด้านการบริหารจัดการข้อมูลเมือง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารจัดการเมืองในภาคประชาชน สังคมและท้องถิ่น นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กระทรวงดีอี) เป็นประธานเปิดโครงการ SIKHIO SMART LIVING โครงการส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารจัดการเมืองในภาคประชาชน สังคมและท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอสีคิ้ว โดยมี นายสานิตย์ ศรีทวี นายอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วย นายปรีชา จันทรรวงทอง นายกเทศมนตรีเมืองสีคิ้ว ข้าราชการ ผู้บริหาร และพนักงานจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนร่วมในพิธีเปิดโครงการโดยพร้อมเพรียง ณ หอประชุมเทศบาลเมืองสีคิ้ว จากนั้น ผศ.ดร.ณัฐพล

ใครที่มีโอกาสเดินทางไปยังจังหวัดที่มีมาตรการควบคุมสูงสุด โดยเฉพาะการเดินทางโดยเครื่องบิน จะพบว่าปัจจุบันยังพบขั้นตอนที่ซับซ้อน นอกจากมาตรการที่แตกต่างกันของแต่ละจังหวัดแล้ว แต่ละหน่วยงานยังมีภารกิจต่างกัน เอกสารสำคัญที่ใช้สำหรับการเดินทางยังคงแยกกันอยู่คนละที่ รวมทั้งบางจังหวัดมีแอปพลิเคชันแยกออกไปต่างหาก ภายใต้มาตรการที่เคร่งครัดในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด-19 การเดินทางยังคงเป็นประเด็นที่อยู่ในการควบคุมอย่างเคร่งครัด สำหรับนักท่องเที่ยวไทยอาจจะต้องปรับตัวกับขั้นตอนที่ยุ่งยากขึ้น เช่นเดียวกับนักท่องเที่ยวต่างชาติซึ่งต้องพบกับมาตรการควบคุมที่เคร่งครัดยิ่งกว่า โครงการภูเก็ตแซนด์บ็อกซ์ (Phuket Sandbox) เป็นโครงการนำร่องในการเปิดให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาภูเก็ตแบบมีเงื่อนไข นอกจากเอกสารการรับรองการฉีดวัคซีนแล้ว ยังต้องใช้ผลการตรวจคัดกรองโควิด-19 แบบ RT-PCR เท่านั้น รวมทั้งต้องมีการทำประกันโรคโควิด-19  มีระบบติดตามตัวผ่านแอปพลิเคชันหมอชนะ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ยังคงเป็นภาระของนักท่องเที่ยว ซึ่งมีผลต่อการตัดสินใจในการเดินทางเข้ามาในโครงการนี้ หลังจากการเปิดตัวโครงการภูเก็ตแซนด์บ็อกซ์ (Phuket Sandbox) หรือการเปิดให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าจังหวัดภูเก็ตแบบมีเงื่อนไข ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ทำให้ภาพรวมการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ตเริ่มมีการขยับตัว ข้อมูล ณ วันที่ 27 กันยายน 2564 ระบุว่า โครงการดังกล่าวสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้กว่า 2,330